ขอนแก่นรวมช่าง ฐานราก (Footing) แต่ชนิด แตกต่างกันยังไง
xn--12cact5gbb0dqd0fj2ae4cte8v5a5kko.com | Posted on |
ขอนแก่นรวมช่าง ฐานราก (Footing) แต่ชนิด แตกต่างกันยังไง
ฐานราก หรือที่ช่างนิยมเรียกกันว่า “ฟุตติ้ง คือโครงสร้างส่วนที่อยู่ใต้ผิวดิน ทำหน้าที่แบกรับน้ำหนักจากเสาแล้วถ่ายลงสู่ดิน การใช้ฐานรากแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก จะก่อสร้างได้ง่าย รวดเร็ว และมีความแข็งแรง ทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศ ขอนแก่นรวมช่างฐานราก ถูกแบ่งออกตามลักษณะได้ 2 ชนิด คือ ฐานรากตื้น (Shallow Foundation) หรือแบบไม่มีเสาเข็มรองรับ หมายถึงฐานรากซึ่งลึกจากระดับผิวดินน้อยกว่า หรือเท่ากับด้านที่สั้นที่สุดของฐานราก โดยฐานรากวางอยู่บนชั้นดินโดยตรง และไม่มีการตอกเสาเข็มเพื่อรองรับฐานราก เหมาะกับสภาพพื้นดินที่มีความสามารถแบกรับน้ำหนักบรรทุกได้สูง และกับสภาพพื้นดินที่ตอกเสาเข็มไม่ลงหรืออย่างยากลำบาก เช่น พื้นที่ดินลูกรัง พื้นที่ภูเขาทะเลทราย ฐานรากลึก (Deep Foundation) หรือแบบมีเสาเข็มรองรับ หมายถึงฐานรากที่ถ่ายน้ำหนักโครงสร้างลงสู่ดินด้วยเสาเข็ม เนื่องจากชั้นดินที่รับน้ำหนักปลอดภัยอยู่ในระดับลึก เหมาะกับการก่อสร้างบนดินอ่อน มีการออกแบบฐานรากให้มีขนาดเสาเข็มและความลึกให้มีลักษณะ แตกต่างกันเพื่อเพิ่มความสามารถในการรับน้ำหนัก และความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ปัจจัยที่มีผลต่อความมั่นคงของฐานราก ความแข็งแรงของตัวฐานรากเอง ซึ่งหมายถึงโครงสร้างส่วนที่เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ความสามารถในการแบกรับน้ำหนักของดินใต้ฐานราก การทรุดตัวของดินใต้ฐานราก ควรเกิดขึ้นได้น้อย และใกล้เคียงกันทุกฐานราก ขอนแก่นรวมช่าง
ฐานราก (Footing) แต่ชนิด แตกต่างกันยังไง
ประเภทของฐานราก รับเหมาก่อสร้าง ทั้งฐานรากชนิดตื้นและชนิดลึก มีลักษณะของการก่อสร้างและความสามารถในการรับน้ำหนักที่แตกต่างกัน แบ่งได้ดังนี้ ฐานแผ่เดี่ยว (Spread Footing) หมายถึงฐานรากที่รับน้ำหนักจากเสาอาคาร เพียงต้นเดียว แล้วถ่ายน้ำหนักลงสู่พื้นดิน ความหนาของตัวฐานต้องสามารถต้านทานโมเมนต์ดัดและแรงเฉือนได้อย่างเพียงพอ และสามารถป้องกันการกัดกร่อนตัวเหล็กเสริมเนื่องจากความชื้น ในบางกรณีที่เสาอาคารไม่วางอยู่บนศูนย์กลางฐานราก เช่นอยู่ติดเขตที่ดินอาจถูกออกแบบให้เสาวางอยู่ด้านใดด้านหนึ่งของฐานราก เราเรียกว่าฐานรากแบบนี้ว่า ฐานรากตีนเป็ด ฐานต่อเนื่องรับกำแพง (Continuous Footing) หมายถึงฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักจากผนังก่ออิฐ หรือผนังคอนกรีตเสริมเหล็กของอาคารหลายๆ ชั้น ขนาดความกว้างของฐานรากขึ้นอยู่กับน้ำหนักที่กดลงสู่ฐานราก ฐานแผ่ร่วม (Combined Footing) เป็นการออกแบบฐานรากเพื่อแก้ปัญหากรณีไม่สามารถสร้างฐานรากเดี่ยวที่สมมาตรได้ ซึ่งฐานรากที่ไม่ สมมาตรนี้เมื่อรับน้ำหนักที่ถ่ายลงบนฐานไม่เท่ากันทำให้เกิดแรงเยื้องศูนย์ อาจทำให้อาคารทรุดตัวได้ ฐานรากชนิดมีคานรัด (Cantilever Footing) เป็นการออกแบบฐานรากเพื่อแก้ปัญหากรณีไม่สามารถสร้างฐานรากที่สมมาตรได้อีกวิธีหนึ่ง เหมาะกับเสาของอาคารที่มีความจำเป็นต้องสร้างประชิดติดกับอาคารเดิม หรือแนวเขตดินที่ไม่สามารถวางตาแหน่งของฐานให้ ตรงกับแนวเสาตอม่อได้ จึงออกแบบให้มีคานคอนกรีตแบกรับน้ำหนักจากเสาตอม่อ ขอนแก่นรวมช่าง ฐานราก (Footing) แต่ชนิด แตกต่างกันยังไง
ขอนแก่นรวมช่างฐานรากแพ (Mat or Raft Foundation)
เป็นฐานร่วมขนาดใหญ่ใช้รับน้ำหนักบรรทุกของเสาหลายๆ ต้น รับเหมาก่อสร้าง ขอนแก่น โดยจะแผ่บนพื้นที่กว้างๆ บางครั้งจะใช้รับน้ำหนักบรรทุกของเสาทุกต้นของอาคารก็ได้โดยมากแล้วเราจะใช้ฐานแพกับอาคารสูง ข้อดีของฐานรากชนิดนี้เมื่อเทียบกับฐานรากเดี่ยวคือ กระจายน้ำหนักสู่ดิน หรือหินเบื้องล่างได้ดีกว่า และปัญหาการทรุดตัวต่างระดับแทบหมดไป เพราะฐานรากชนิดนี้มีความต่อเนื่องกันตลอดโยงยึดกันเป็นแพ แต่การก่อสร้างจะยุ่งยาก และสิ้นเปลือง การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็ม (Dynamic Load Test) เป็นการทดสอบเพื่อประเมินการรับน้ำหนักของเสาเข็ม โดยใช้วิธีการวัดค่าแรง (Force) และความเร็ว (Velocity) จากสัญญาณสะท้อนคลื่นความเค้น (Stress Wave) ซึ่งเกิดจากการปล่อยตุ้มน้ำหนักให้กระแทกลงบนหัวเสาเข็ม แล้วใช้ผลตอบสนองของเสาเข็มที่วัดได้เป็นข้อมูลป้อนเข้าเครื่องวิเคราะห์ข้อมูล Pile Driving Analyzer ทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็ม (Dynamic Load Test) เครื่องมือและอุปกรณ์ทำหรับทำการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็ม Pile Driving Analyzer เครื่องประมวลผลการทดสอบ Accelerometer Sensor อุปกรณ์ในการวัดค่าความสมบูรณ์ของเสาเข็ม Strain Gauges Transducer อุปกรณ์ในการวัดค่ากำลังของเสาเข็ม ปั้นจั่น ที่ใช้ตอกเสาเข็ม สว่าน สำหรับเจาะติดตั้งเครื่องมือเพื่อยึด Accelerometer Sensor และ Strain Transducer แนบด้านข้างเสาเข็มทดสอบ ขอนแก่นรวมช่าง ฐานราก (Footing) แต่ชนิด แตกต่างกันยังไง
ขั้นตอนการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็ม
ขั้นตอนการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็ม เจาะรูเสาเข็มเพื่อติดตั้งหัววัดสัญญาณ Strain Gauges และ Accelerometer อย่างละ 2 ชุด โดยจะติดตั้งเป็นคู่ ที่ผิวด้านข้างของเสาเข็มในด้านที่ตรงกันข้ามกัน จากนั้นต่อสายส่งสัญญาณเข้ากับเครื่อง Pile Driving Analyzer (PDA) แล้วทำการทดสอบโดยใช้ตุ้มเหล็กที่มีน้ำหนักไม่น้อยกว่า 1.5% ของน้ำหนักทดสอบสูงสุด ปล่อยกระแทกลงบนหัวเสาเข็ม จากนั้นเก็บสัญญานนำไปทำการวิเคราะห์เพื่อหาค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มที่ถูกต้อง การติดตั้งหัววัดสัญญาณ (Transducer) ซึ่งจะต้องติดตั้ง Accelerometer Sensor และ Strain Transducer คู่กัน ตำหน่งการติดตั้ง Accelerometer Sensor และ Strain Transducer ทั้ง 2 ชุด ลูกดิ่ง (Plum Bob) ใช้ลูกดิ่งเช็คตำแหน่งของ ตุ้มตอกเสาเข็ม (Drop Hammer) ให้อยู่กึ่งกลางของหลายเสาเข็ม ปรับระดับความสูงของ ตุ้มตอกเสาเข็ม (Drop Hammer) ในระดับความสูงที่ต่างกัน ซึ่งจะปล่อยตุ้มตอกเสาเข็มลงกระแทกเสาเข็ม 3 ครั้ง ในระดับความสูงที่ต่างกัน 3 ระดับ เครื่องบันทึกและวิเคราะห์ข้อมูลของเสาเข็ม Pile Driving Analyzer วิศวกรทำต้องชี้แจงและทำข้อตกลงในทีมงาน ก่อนที่จะเริ่มทำการทดสอบเสาเข็ม วิศวกรทำต้องชี้แจงและทำข้อตกลงในทีมงาน ก่อนที่จะเริ่มทำการทดสอบเสาเข็ม ตั้งระดับความสูงของตุ้มตอกเสาเข็ม กราฟที่ได้จากเครื่องบันทึกข้อมูล Pile Driving Analyzer ขอนแก่นรวมช่าง ฐานราก (Footing) แต่ชนิด แตกต่างกันยังไง รับสร้างบ้าน